ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

แถบ นีละนิธิ

ศาสตราจารย์ แถบ นีละนิธิ (1 กรกฎาคม 2450 – 10 สิงหาคม 2523) อดีตราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน, อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และอดีตคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศาสตราจารย์ แถบ นีละนิธิ หรือที่รู้จักในนามของ ศาสตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ เกิดเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2450 เป็นบุตรของพระราชสุภาวดี (สิน นีละนิธิ) กับนางนวล ราชสุภาวดี

ศาสตราจารย์ แถบ นีละนิธิ เข้าเรียนระดับชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดสุทัศน์ และชั้นมัธยมศึกษา (ม.8) ที่โรงเรียนสวนกุหลาบ เมื่ออายุ 17 ปี ได้เข้าสอบชิงทุนเล่าเรียนหลวงของกระทรวงธรรมการเพื่อไปศึกษาต่อที่ วิทยาลัยของเทศบาลนครพอร์ตสมัท (Portsmouth Municipal College) ประเทศอังกฤษ สาขาวิทยาศาสตร์ 2 ปี หลังจากนั้น จึงได้เข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล เป็นเวลา 3 ปี จนได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมีมาตรฐานชั้นสูง เมื่อปี พ.ศ. 2472 และเข้าศึกษาต่ออีก 1 ปี ขั้น Honours School จนได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 1 สาขาวิชาเคมี จากมหาวิทยาลัยเดียวกัน เมื่อปี พ.ศ. 2473 ซึ่งนับเป็นคนไทยคนแรกที่เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยแห่งนี้ และสามารถจบด้วยเกียรตินิยมอันดับ 1 ในสาขาเคมี หลังจากนั้น ได้รับทุนจากมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยคอร์เนล สหรัฐอเมริกา โดยสำเร็จปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเคมี เมื่อปี พ.ศ. 2474 และใช้เวลาต่อมาอีกเพียง 2 ปี ก็สำเร็จปริญญาเอก (Ph.D.) สาขาอินทรีย์เคมี จากมหาวิทยาลัยเดียวกัน เมื่อปี พ.ศ. 2476

หลังจากจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยคอร์เนลแล้ว ศ.ดร.แถบ ได้เดินทางกลับมาประเทศไทย และเข้ารับราชการเป็นอาจารย์สอนวิชาเคมีที่คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้รับตำแหน่งหัวหน้าแผนกวิชาเคมี เมื่อ 13 กันยายน พ.ศ. 2479

เมื่อ 15 เมษายน พ.ศ. 2492 ท่านได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ และวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ศ.ดร.แถบ ได้ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ หลังจากนั้น เมื่อ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2500 และได้รับตำแหน่งรองอธิการบดีด้วยอีกตำแหน่งหนึ่ง

ต่อมา พ.ศ. 2506 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ขยายระดับการศึกษาโดยจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยขึ้น ท่านได้รับตำแหน่งคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นคนแรกด้วย

ศ.ดร.แถบ นีละนิธิ หลังจากเกษียณอายุราชการแล้ว ท่านยังคงดำรงตำแหน่งรักษาการอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นท่านที่ 8 เมื่อ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2512 โดยท่านดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 2 ปี หลังจากนั้น ยังได้ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยติดต่อกัน 3 วาระ รวมเป็นเวลา 6 ปี

เมื่อเริ่มเข้ารับราชการ ท่านเป็นผู้จัดทำหลักสูตรปริญญาบัณฑิตทางเคมี และเป็นผู้สอนเอง นับว่าเป็นอาจารย์ต้นตำรับการผลิตวิทยาศาสตร์บัณฑิตคนแรกของประเทศ ขณะดำรงตำแหน่งคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ ท่านได้ริเริ่มขยายหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต เพื่อให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยเปิดวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาธรณีเคมีเทคนิค ขณะดำรงตำแหน่งคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ท่านได้ร่วมกำหนดมาตรฐานและระเบียบต่างๆขึ้น รวมถึงจัดตั้งคณะบัณฑิตวิทยาลัยขั้นจัดการ และจัดตั้งหน่วยคอมพิวเตอร์ขึ้น ซึ่งหน่วยงานนี้เป็นผู้บุกเบิกด้านคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตอย่างเป็นทางการแห่งแรกของประเทศไทย ผลงานหน้าที่อื่นๆ เช่น


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

พยาธิกายวิภาค มหัพภาค มหพยาธิวิทยา วิทยาเอ็มบริโอ เซลล์พันธุศาสตร์ กายภาพ จุลภาค วิทยาเนื้อเยื่อ จุลกายวิภาคศาสตร์ มหกายวิภาคศาสตร์ ปรสิตวิทยา สังขวิทยา รา ปักษีวิทยา แมลง พยาธิตัวแบน แมงกะพรุน ชีววิทยาของการเจริญ ยีสต์ สรีรวิทยาของพืช ปรสิต ดอกไม้ทะเล ปลาการ์ตูน ทฤษฎีเซลล์ พันธุศาสตร์ประชากร พฤติกรรมวิทยา คัพภวิทยา เซลล์วิทยา อุทกวิทยา หอดูดาวเกิดแก้ว Earth Sciences Geology แถบ นีละนิธิ ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ กระทรวงเศรษฐการ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ร.ศ. 110 มีโซโซอิก Photosynthesis โฮโลซีน บรมยุคฮาเดียน ธรณีกาล โลกศาสตร์ อุลกมณี เหล็กไหล ไม้กลายเป็นหิน หลุมยุบ ดินถล่ม รอยเลื่อน ธรณีพิบัติภัย จักรวาล ธรณีสัณฐานวิทยา ธรณีวิทยาโครงสร้าง การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก แมนเทิล The Blue Marble สถิตยศาสตร์ของไหล สถิตยศาสตร์ Nobel Prize in Physics ประวัติศาสตร์ของฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิตย์ ของไหล ก๊าซ สปิน (ฟิสิกส์) ปฏิยานุภาค อันตรกิริยาพื้นฐาน แบบจำลองมาตรฐาน โพลาไรเซชัน เลเซอร์ รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า การกระเจิง โฟตอนิกส์ ฟิสิกส์ทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์โมเลกุล ฟิสิกส์อะตอม กฎความโน้มถ่วงสากล สัมพัทธภาพทั่วไป ฟิสิกส์พลังงานสูง ฟิสิกส์พลังงานสูง ฟิสิกส์อะตอม โมเลกุล และทัศนศาสตร์ หลุมดำ ความเร็วแสง ค่าคงที่ของพลังค์ ทฤษฎีสนามควอนตัม เอนโทรปี การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า สมการของแมกซ์เวลล์ คลื่น กฎการอนุรักษ์ กฎการอนุรักษ์ แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24278